|
อาชีพประชากร |
|
 |
|
|
ประชากรในตำบลไม้งามส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ
เกษตรกรรม ทำนาปลูกข้าว รองลงมาทำการประมง เลี้ยงปลานิล ตะเพียน ยี่สกเทศ ปลาดุก ปลาสวาย และทำปศุสัตว์ เลี้ยง โคเนื้อ โคนม ฯลฯ เป็นอาชีพเสริมเพื่อหารายได้อีกทาง
|
|
|
|
ภูมิประเทศ |
|
 |
|
|
ลักษณะภูมิประเทศ สภาพโดยทั่วไปของตำบลไม้งาม เป็นที่ราบเชิงเขามีความลาดเอียงจากทิศตะวันออกมายังทิศตะวัน
ตก จดแม่น้ำปิง
มีพื้นที่ทั้งหมด 25,393.13 ไร่ (40.63 ตารางกิโลเมตร) |
|
|
|
ภูมิอากาศ |
|
 |
|
|
|
ตำบลไม้งาม จำแนกฤดูกาลออกเป็น 3 ฤดู ดังนี้ |
|
ฤดูหนาว เริ่มประมาณกลางเดือนตุลาคมถึงกุมภาพันธ์ |
|
ฤดูร้อน เริ่มประมาณกลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงพฤษภาคม |
|
ฤดูฝน เริ่มประมาณกลางเดือนพฤษภาคมถึงตุลาคม |
|
|
|
สถาบันและองค์กร
ทางศาสนา |
|
 |
|
|
|
|
|
|
|
ประชากรส่วนใหญ่ ร้อยละ 95 นับถือศาสนาพุทธ และร้อยละ 5 นับถือศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาอื่นๆ |
|
มีวัดและสำนักสงฆ์ |
จำนวน |
7 |
แห่ง |
|
|
วัดเกาะตาเถียร์ |
หมู่ที่ 1 |
|
|
วัดไม้งามหลวง |
หมู่ที่ 2 |
|
|
วัดท่าช้าง |
หมู่ที่ 4 |
|
|
วัดวังม่วง |
หมู่ที่ 5 |
|
|
วัดเขาถ้ำ |
หมู่ที่ 6 |
|
|
วัดหนองกะโห้ |
หมู่ที่ 7 |
|
|
สำนักสงฆ์ดอยดงน้อย บ้านสามไร่ |
หมู่ที่ 8 |
|
|
|
ขนบธรรมเนียม ประเพณี
และวัฒนธรรม |
|
 |
|
|
|
|
|
ประเพณี |
|
|
ประเพณีขึ้นธาตุเดือน 5 ไหว้พระขึ้นเขาถ้ำ ณ วัดเขาถ้ำ หมู่ที่ 6 จัดข้ำในวันพระครั้งแรกหลังประเพณีสงกรานต์ (ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 5) |
|
|
งานสักการะบุูชาพระธาตุเจดีย์ศรีสุนทร ณ วัดวังม่วง หมู่ที่ 5 จัดขึ้นทุกวันที่ 4 พฤศจิกายน ของทุกปี |
|
|
|
|
ประเพณีตานก๋วยสลาก ของวัดท่าช้าง หมู่ที่ 4 และวัดไม้งามหลวง หมู่ที่ 2 ซึ่งจะจัดในช่วงหลังวันออกพรรษาเป็นประจำทุกปี |
|
|
ประเพณีงานทำบุญกลางบ้าน |
|
|
ประเพณีเทศน์มหาชาติ (มีการจัดขึ้นในทุกปีของแต่ละวัด) |
|
|
ประเพณีวันลอยกระทง (วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ของทุกปี) |
|
|
ประเพณีวันสงกรานต์ (วันที่ 13-15 เมษายน ของทุกปี) |
|
ภาษาถิ่น ส่วนใหญ่มีการพูดสื่อสารภาษาไทยกลาง และภาษาถิ่นภาษาเหนือ (คำเมือง) ในบางหมู่บ้าน |
|
สินค้าพื้นเมือง ได้แก่ หมอน ผลิตภัณฑ์จากนุ่น , ตระกร้าสานพลาสติกด้วยเชือกพีวีซี , ครกหินแกรนิต |
|
ภูมิปัญญาท้องถิ่น เกษตรกรตำบลไม้งาม มีการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพ ซึ่งเพิ่มรายได้ในครอบครัว และทำในช่วงเว้นว่างจากการเกษตรที่เป็นอาชีพหลัก เช่น การแปรรูปผลิตภัณฑ์ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ การทำแคบหมู , การทำดอกไม้จันทน์ , การนวดแผนไทย การทำลูกประคบ ฯลฯ |
|
|
การศึกษาในชุมชน |
|
 |
|
|
|
|
|
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดเทศบาลตำบลไม้งาม จำนวน 3 แห่ง |
|
|
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านไม้งาม |
|
|
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังม่วง |
|
|
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองกระโห้ |
|
ระดับก่อนประถมศึกษาและระดับประถมศึกษา จำนวน 3 แห่ง |
|
|
โรงเรียนขุมชนบ้านไม้งาม |
|
|
โรงเรียนบ้านวังม่วง |
|
|
โรงเรียนบ้านหนองกระโห้ |
|
ระดับมัธยมศึกษา จำนวน 1 แห่ง |
|
|
โรงเรียนผดุงปัญญา |
|
ระดับอุดมศึกษา จำนวน 1 แห่ง |
|
|
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก |
|
|
|
การสาธารณสุขในชุมชน |
|
 |
|
|
|
|
|
|
|
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไม้งาม |
จำนวน |
1 |
แห่ง |
|
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) |
จำนวน |
176 |
คน |
|
ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ ตั้งอยู่บริเวณสำนักงานเทศบาลตำบลไม้งาม อำเภอเมืองตาก จังหวั่ดตาก |
|
อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 100 |
|
|
|
ความปลอดภัยในชุมชน |
|
 |
|
|
|
|
|
|
|
จุดตรวจประจำตำบล |
จำนวน |
2 |
แห่ง |
|
(หมู่ที่ 5 บ้านวังม่วง และหมู่ที่ 4 บ้านไม้งาม) |
|
ศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนตำบลไม้งาม |
|
|
จำนวน |
1 |
แห่ง |
|
อาสาสมัครตำรวจบ้าน |
จำนวน |
1 |
ชุด |
|
ศูนย์ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทตำบลไม้งาม |
จำนวน |
1 |
แห่ง |
|
ชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน |
|
|
|
|
กลุ่มพลังยาเสพติดตาสับปะรด หมู่บ้านละ 25 คน |
|
|
จำนวน |
225 |
คน |
|
อาสาสมัครป้องปรามยาเสพติตตำบลไม้งาม |
|
|
จำนวน |
300 |
คน |
|
|
|
|
|